วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

สรุปวิจัย

ชื่อวิจัย  การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการเล่นเกมสร้างมโทัศน์ด้านจำนวน

ชื่อผู้แต่ง  นฤมล ปิ่นดอนทอง

จุดมุ่งหมาย  เพื่อเปรียบเทียบการคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการเล่นสร้างมโนทัศน์
ด้านจำนวนและการเล่นปกติ

ประชากรที่ศึกษา  เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุ 5-6 ปี ชั้นปฐมวัยปีที่ 3

สรุปผลการวิจัย

         วิธีการดำเนินการ   1.สร้างความคุ้นเคยกับเด็กในกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลา 1 สัปดาห์
                                           2.ทำการทดสอบก่อนการทดลอง (Prettst)  กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดโดยใช้
 แบบทดสอบวัดการคิดเชิงเหตุผล แล้วตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กำหนดเพื่อแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม โดยพิจารณาจากคะแนนทดสอบวัดการคิดเชิงเหตุผลที่ใกล้เคียงกัน
                                          3.ดำเนินการทดลองโดยกลุ่มทดลองได้รับการเล่นเกมมโนทัศน์ด้านจำนวนและกลุ่มควบคุมได้รับการเล่นปกติ ใช้ระยะเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 5 วัน วันละ 20 นาที รวมทั้งสิ้น 40 ครั้ง                    
                                          4.หลังจากเสร็จสิ้นการทดลองทำการทดสอบหลังการทดลอง (Posttest)            
ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบทดสอบวัดการคิดเชิงเหตุผลฉบับเดียวกับการทดลองก่อนการทดลอง แล้วตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กำหนด
                                          5.นำคะแนนที่ได้จากการทดสอบวัดการคิดเชิงเหตุผลมาทำการวิเคราะห์ข้อมูล

          สรปผลการทดลอง   เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเล่นเกมสร้างมโนทัศน์ด้านจำนวนและเด็กปฐมวัยที่ได้รับการเล่นปกติ มีการคิดเชิงเหตุผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01   




วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556

-อาจารย์พูดคุยกับนักศึกษาเรื่องเสื้อสูตว่าจะทำหรือไม่ทำ
-พูดคุยเรื่องงานกีฬาสีเอก  บายเนียร์  ปัจฉิม และนัดการสอบปลายภาคนอกเวลา
โดยมีหมายกำหนดการดังนี้
 1. วันที่ 26 กุมภาพันธ์ สอบปลายภาคเรียน
 2. วันที่ 2 มีนาคม กีฬาสีเอก เริ่มตอน 9โมงเช้า
 3. วันที่ 3 มีนาคม ตอนเช้าปัจฉิม ตอนเย็นกิจกรรมบายเนียร์
 4. วันที่ 5 มีนาคม ถึงวันที่ 8 มีนาคม ไปศึกษาดูงานที่ลาว
-อาจารย์แจกกระดาษให้นักศึกษาคนละแผ่นและให้เขียนสิ่งที่รู้ในวิชานี้ โดยถามว่า
 1. ความรู้ที่ได้รับ
 2. ทักษะที่ได้
 3. วิธีการสอน

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556

-สอบสอนหน่วยอวัยวะภายนอก
ลักษณะอวัยวะร่างกายภายนอก

หน้าที่ของอวัยวะภายนอก
ข้อเสนอแนะของอาจารย์
-เวลาสอนเด็กๆเมื่อจะถามคำถามเด็กควรให้เด็กยกมือตอบคำถาม
-เมื่อมีการเขียนกระดานควรมีภาพมีติดเพื่อให้เด็กได้เห็นภาพและตัวหนังสือไปพร้อมๆกัน
-เพลงที่จะร้องให้เด็เกี่ยวกับอวัยวะ คือ
 เพลง ตาดูหูฟัง
ตาเรามีไว้ดู หูเรามีไว้ฟัง
คุณครูท่านสอน ท่านสั่ง
เราตั้งใจฟัง เราตั้งใจดู
-เด็กๆบอกครูซิค่ะว่าอวัยวะภายนอกมีอะไรบ้าง
-นำบัตรภาพมาให้ดูและถามว่ามีชื่อเรียกว่าอะไร และอวัยวะที่เด็กๆเห็นเหมือนของเด็กๆหรือป่าวค่ะ
-เด็กลองดูซิค่ะว่าอวัยวะของเด็กๆมีลักษณะอย่างไรกันบ้างค่ะ


วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14


วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556

-สอบสอน กลุ่มที่ 4 หน่วยกระดุม





ข้อเสนอแนะของอาจารย์
เรื่องชนิดของกระดุม
-ถ้ากระดุมเล็กให้ใช้ภาพตัดต่อได้
-ถ้านำเข้าสู่บทเรียนให้ร้องเพลงและส่งกระดุมไปเรื่อยๆเมื่อร้องเพลงให้เด็กหลับตาแล้วครูนำกระดุมไปวางที่ตรงหน้าเด็ก
-พอเด็กลืมตาก็จะเห็นกระดุม
-ใช้คำถามเด็ฏว่าเด็กๆรู้จักกระดุมอะไรบ้างเมื่แเด็กตอบให้เขียนบนกระดาน
-นำกระดุมใส่ขวดให้เด็กเขย่า(การคาดคะเน)
-ให้เด็กนับกระดุม
เรื่องลักษณะของกระดุุม
-เด็กลองบอกครูซิว่าภาพที่ติดอยู่บนกระดานภาพอะไร(เด็กตอบ  กระดุม)
-เด็กๆลองสำรวจดูซิค่ะว่าในตัวของเด็กๆมีกระดุมที่มีลักษณะอย่างไร
-ถ้าจะสอนเรื่องกระดุมที่เป็นโลหะกับอโลหะเราจะใช้แม่เหล็ก
-เราอยากให้เด็กเห็นภาษาก็เขียนเป็นตัวหนังสือ
-เขียนลงตาราง


 -ในเรื่องของขนาดควรเป็นภาพคน ที่เป็นกางปลาที่มีขนาดเล็กใหญ่ เช่น 
ขนาดเล็ก
ขนาดใหญ่
-ในการสรุปให้เป็นวงกลง 2 วงซ้อนกันและดูว่ามีอะไรที่มีลักษณะเหมือนกันก็ไว้ตรงกลางระหว่างวงกลม 2 วง ส่วนสิ่งที่แตกต่างกันก็ไว้ในวงกลมของแต่ละวง
-เพื่อให้เด็กได้เห็นภาพ
-ส่วนในเรื่องของประโยชน์ของกระดุมให้เสนอเป็นนิทาน

วันอังคารที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13



วันอังคารที่ 29 มกราคม พ.ศ.2556

-วันนี้มีการประชุมเกี่ยวกับการแสดงในวันพุธในการประชุมครั้งนี้อาจารย์ให้นักศึกษาช่วยกันคิดว่าจะทำโชว์อะไรและให้นักศึกษาแสดงความสามารถที่หลายหลายออกมา
-โดยแบ่งหน้าที่กัน โดย



-ในการปรชุมวันนี้สิ่งที่มีความสอดคล้องกับคณิ๖ศาสตร์  คือ
มาตราฐานที่ 3 เรขาคณิต บอกตำแหน่งทิศทาง ในการเขียนแผนผังการขึ้นลงเวทีของนักแสดง


มาตราฐานที่ 4 พีชคณิต(เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์)
-เป็นสิ่งที่นักศึกษาปฎิบัติเอง คือ การซ้อมการแสดง
มาตราฐานที่ 5 การวิเคราะข้อมูลและความน่าจะเป็น
-เมื่อปฎิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วจะนำเสนอข้อมูลว่าพบปัญหาอะไรบ้าง และประเมิณการทำงาน





วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

อังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ.2556


-อาจารย์ให้นักศึกษานำวิจัยที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยลงบล็อกคนละ 5 เรื่องและให้นักศึกษาอ่านงานวิจัย 1 เรื่องและสรุปสั้นๆ

-การอ่านงานวิจัยเพื่อการปรับและนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนของตัวเราเอง

-อาจารย์สอบสอนต่อโดยกลุ่มเดิมกลุ่มขนมไทย

กลุ่มที่ 1 หน่วยขนมไทย
วันจันทร์ เรื่องชนิดของขนมไทย






ข้อเสนอแนะของอาจารย์
-อยากให้ความสำคัญของเกมการศึกษาเพราะเด็กจะได้เล่นเหมือนของเล่นเด็กจะไม่เบื่อและเด็กยังได้ความรู้
-ในการสอนเรื่องลักษณะของขนมไทยคววรเป็นของจริงเพื่อให้เด็กได้สัมผัสหรือดมกลิ่นจากของจริง

กลุ่มที่ 2 หน่วยข้าว
วันอังคาร เรื่องลักษณะของข้าว


วันศุกร์ เรื่องวิธีการดูแลรักษา




ข้อเสนอแนะของอาจารย์
-ถ้าเราจะให้เด็กดูข้าวแต่ละชนิดควรนำข้าวแต่ละชนิดใส่ถุงซิปเพื่อให้เด็กดูได้อย่างใกล้ชิด

กลุ่มที่ 3 หน่วยกล้วย
วันจันทร์ เรื่องชนิดของกล้วย

วันศุกร์ เรื่องการขยายพันธ์





ข้อเสนอแนะของอาจารย์
-ให้นำกล้วยใส่ลงในตระกร้าแล้วนำผ้าคลุมให้ใช้คำถามว่า เด็กทราบไหมค่ะว่าในตระกร้ามีอะไรอยู่ ถ้าเด็กๆตอบว่ากล้วยถามต่อไปว่าแล้วเด็กๆรู้จักกล้วยชนิดใดบ้างและเด็กๆเคยทานกล้วยไหมค่ะว่ามีรสชาดอย่างไร เป็นต้น



สื่อการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



-อาจารย์นำสื่อของนักศึกษาปี 2 มาให้ศึกษา


สรุปมาตราฐานทางคณิตศาสตร์ 6 มาตราฐาน


วันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2556

การเรียนรู้ครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ.2556


-อาจารย์แนะนำวิธีการออกมาสอนหน้าชั้นเรียนว่าควรพูดกับเด็กอย่างไร

-สอบสอนกลุ่มแรก หน่วยขนมไทย
เพื่อนสอบสอนและอาจารย์ให้คำแนะนำ

***อาจารย์ขอออกก่อนเวลา เนื่องจากติดประชุมด่วน***